บทความ

เป็นโปรแกรมกรอกข้อมูลยาเสพติดในสถานศึกษา และกำลังพลที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานยาเสพติดในสถานศึกษา เพื่อทราบถึงกิจกรรมที่ ร.ร.ดำเนินการในด้านยาเสพติด การเรียกใช้ ระบบทะเบียนกำลังพล สามารถเรียกใช้ ได้ 3 ช่องทาง คือ 1.       Address   http://hr.nccd.go.th   หรือ 2.       Address   http://www.nccd.go.th เลือกเมนูหลัก ระบบกำลังพลปีงบประมาณ 2551 3.       Link จากระบบ สารสนเทศยาเสพติดจังหวัด Narcotics Information System for Province Agency (NISPA) แล้วเลือกเมนูตามรูป   กำลังพลประเภทที่ 1 กำลังพลที่ปฏิบัติงานด้านยาเสพติดตามโครงสร้างแบ่งส่วนราชการ  ที่มีกฎหมายรองรับ  หมายถึง กำลังพลที่อยู่ในโครงสร้าง ตามกฎหมายการแบ่งส่วนราชการให้มีหน้าที่ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในปัจจุบันมีหน่วยงานที่มีการจัดส่วนราชการตามกฎหมาย อาทิเช่น           1.1 กระทรวงยุติธรรม                       1) สำนักงาน ป.ป.ส.                    2) กรมคุมประพฤติ (         )                    3) กรมราชทัณฑ์    (         )           1.2 กระทรวงสาธารณสุข                    1) กรมการแพท
รูปภาพ

บทความดีๆ

ผู้เขียน กนกศักดิ์ พ่วงลาภ เมื่อไม่นานมานี้ผู้เขียนได้มีโอกาสไปประชุมในสถานศึกษาแห่งหนึ่ง ซึ่งจัดการศึกษาระดับปฐมวัยไปจนถึงมัธยมปลาย โรงเรียนนี้พอมีชื่อเสียงอยู่ในย่านดอนเมือง มีนักเรียนที่จบไปเป็นที่รู้จักของประชาชน อย่างน้อยคนหนึ่งเป็นดาราโด่งดังมาก เป็นดาวค้างฟ้าอยู่เวลานี้ ในวันนั้น ผู้เขียนไปประชุมในฐานะประชาชนธรรมดาไม่ได้ถูกเชิญในกิจการเฉพาะเจาะจงใดๆ ในวันนั้นมีการถามว่า อาหารมื้อกลางวันของนักเรียนที่เป็นเด็กเล็ก ปฐมวัย มีผลไม้จัดมาให้รับประทานด้วยหรือไม่ คุณครูท่านหนึ่งตอบว่า ไม่มี ผู้เขียนสะดุ้งโหยงสุดตัว กับคำตอบ “ไม่มีผลไม้” ไม่รู้คนอื่นสะดุ้งด้วยหรือไม่ ก็ไม่รู้ แต่เห็นคนอื่นในที่ประชุมหันขวับมามองผู้เขียน ราวกับว่าจะเอาอะไรกันหนักหนากับผลไม้ แต่ผู้เขียนกลับคิดว่าผลไม้นี่แหละจำเป็นสำหรับเด็กมากๆ เลยทีเดียว เพราะอยู่ที่บ้านเด็กก็ไม่ค่อยกินผักผลไม้ หากอยู่ที่โรงเรียนแล้ว ถ้าทางโรงเรียนมีผลไม้มาให้ เด็กนักเรียนคงต้องเกรงใจครูบ้างและทำให้เด็กกินผลไม้นั้นย่อมเป็นประโยชน์แก่ร่างกายเด็กเอง ผลไม้ย่อมมีวิตามินและเอนไซม์ (เอนไซม์ที่มีชีวิต ซึ่งคนญี่ปุ่นรู้เรื่องอาหารเหล่านี้เป็นอย่างด

บทความ ดีๆ

การศึกษาไทย…ไปถึงไหนแล้ว?? ที่มา คอลัมน์ มติชนมติครู ผู้เขียน สหัส แก้วยัง ย่างเข้าปีที่ 5 แล้วที่รัฐบาล คสช.ภายใต้การบริหารงานของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในปัจจุบันที่ทุกคนถามถึงผลงานในรอบ 4 ปีที่ผ่านมา ทุกคนต่างมีคำตอบอยู่ในใจแล้วว่าสอบผ่าน หรือสอบตก ผลงานที่ไม่กล่าวถึงไม่ได้ คือผลงานด้านการศึกษาที่รัฐบาลนี้มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมา 3 คน แล้วเป็นทหาร 2 คน ปัจจุบันคนที่ 3 เป็นนายแพทย์ มีการปฏิรูปการศึกษา ทุกคนที่เข้ามาบริหารกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาจึงเกิดทุกยุคทุกสมัย และทุกคนที่เข้ามาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการก็จะเน้นการปฏิรูปการศึกษา แต่ความเป็นจริง การปฏิรูปการศึกษาไม่ประสบผลสำเร็จเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน คุณภาพการศึกษาโดยรวมยังไม่ดีขึ้น พูดง่ายๆ ก็คือคุณภาพการศึกษายังไม่บรรลุเป้าหมาย จึงทำให้วนไปวนมากับคำว่าปฏิรูปจนเราเคยชินเป็น คำธรรมดาๆ ขาดมนต์ขลังไปเสียแล้ว รัฐบาลชุดนี้ก็เข้ามาปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหาร มีการเพิ่มศึกษาธิการจังหวัด ศึกษาธิการภาค ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว เราเคยมองว่าศึกษาธิการจังหวัดทำงานซ้ำซ้อน เป็นหน่วยงานที่ไม่ส่งผลต่อคุณภ

บทความ ดีๆ

ด้วยความเชื่อที่ว่า ครูคือทรัพยากรที่สำคัญยิ่งในระบบการศึกษาที่จะเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น   ในปี 2561 นี้  งานมหกรรมทางการศึกษาครั้งที่11 EDUCA2018 งานที่มีครูระดับปฏิบัติการและระดับบริหารเข้าร่วมมากที่สุดในประเทศไทยได้ให้การสนับสนุนที่จะสร้างความเข้าใจต่อทั้งสาธารณชนและบรรดาครูไทยให้ตระหนักถึงคุณค่าของวิชาชีพนี้ เพราะครูที่เคารพต่อวิชาชีพครูจะกระตือรือร้นต่อการทำงาน ทั้งยังผลักดันตัวเองให้พัฒนาทักษะในการทำงานอยู่เสมอๆ ภายใต้แนวคิดThe Value of Teachers : คุณค่าของครู เพื่อกระตุ้นสังคมให้ตระหนักถึง “คุณค่าของครู”ท่ามกลางกระแสโลกดิจิทัลที่ท้าทาย และบทบาทอันยิ่งใหญ่ของครูที่จะเตรียมเด็กไทย ให้พร้อมสำหรับอนาคตที่ยั่งยืน เตรียมเปิดมุมมองการเรียนรู้ และอัปเดตความเคลื่อนไหวในวงการศึกษาระดับนานาชาติ โดย วิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา นักวิจัยทางการศึกษา และนักการศึกษาระดับนานาชาติจากประเทศชั้นนำทางการศึกษาไม่ว่าจะเป็น ฟินแลนด์ เนเธอร์แลนด์นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และสิงคโปร์ ที่จะมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ใหม่ๆ ในการประชุมนานาชาติ(Internation

บทความ ดีๆ

เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2561 โพสต์ทูเดย์ ได้เสนอเนื้อหาเรื่อง "จดหมายถึงครู" ที่เขียนโดยศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ประธานสถาบันนวัตกรรมชุมชนอัจฉริยะและอธิการบดี สจล. โดยมีเนื้อหา ดังนี้ จดหมายถึงครู อาชีพครูกำลังถูกท้าทายในยุคDisruption ครูจึงต้องเปลี่ยน เพราะหากไม่เปลี่ยน ไม่ใช่แค่แพ้แต่ถึงกับสูญพันธุ์ ******************************** โดย...ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ประธานสถาบันนวัตกรรมชุมชนอัจฉริยะและอธิการบดี สจล. วันนี้เมื่อกระแสกดดันการศึกษาไทยรุนแรงมากขึ้นจากโซเชียลมีเดีย และจากที่คนไทยเริ่มรับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงแบบหักศอกในโลกยุค Disruption หรือยุคทำลายล้างเพื่อเกิดสิ่งใหม่ที่ดีกว่า จึงกังวลว่าลูกหลานไทยจะสู้ใครไม่ได้ เพราะการศึกษาไทยติดหล่ม ถึงแม้รัฐจะทุ่มเทเต็มกำลังก็ตามที อนาคตไทยก็ยังน่าเป็นห่วง เมื่อการศึกษาไทยมีปัญหา “ครู” มักกลายเป็นจำเลยของสังคม หรือ “ผิดเป็นครู” บ้างก็ว่าครูรุ่นใหม่ขาดจิตวิญญาณ ครูรุ่นเก่าไม่ปรับตัว แต่ปัญหาครูก็เป็นเพียงปัจจัยเดียวเท่านั้น ในหลายปัจจัยของวงการศึกษาไทย การที่ครูมักต้องเป็นแพะรับบาปร่ำไป ผมจึงรู้สึกได้ถ

บทความ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายแพทย์ธีรเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ เรื่องที่ท่านทำดี มีประโยชน์ต่อการศึกษาของประเทศไทย  - มอบของขวัญให้ครู โดยยกเลิกทำ logbook ท่านกล้าที่จะยกเลิกเมื่อเห็นว่าทำไปแล้วเป็นภาระที่ครูทำ เสียเวลาในการ เตรียมการสอน - กล้าตัดสินใจยกเลิก MOE NET มอบของขวัญให้นักเรียน ให้โรงเรียนเลือกใช้อินเทอร์เน็ต สพฐ.จัดสรรงบสนับสนุน - ไม่มีการประเมินภายนอกโดย สมศ. - แก้ไขกฎกระทรวงว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ให้สั้น กระชับ อ่านง่าย ไม่ซับซ้อน (เนื้อหา 2 หน้า) - เป็นต้นแบบความตรงต่อเวลา ตรงไปตรงมา เวลาท่านบรรยายเริ่มตรงเวลาและจบตรงเวลา - สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว - ลดภาระงานครู โดยกำหนดให้ทุกรร.มีเจ้าหน้าที่ธุรการ - นโยบายไม่ตัดเสื้อโหล การดำเนินการสอดคล้องบริบทแต่ละพื้นที่ - ชูโครงการ Boot Camp ยกระดับภาษาอังกฤษ - ปราบโกงทุจริต กองทุนเสมาพัฒนาชีวิต การจัดซื้อครุภัณฑ์บางพื้นที่ - เริ่มต้นโครงการโรงเรียน ICU และยกเลิกโครงการ ทำดีหลายเรื่องครับ น่าชื่นชม แต่ช่วงท้ายๆ ใกล้เลือกตั้ง เป็นวิธีการที่เสียคะแนน (เสียมากด้วย) ขัดแย้ง ย้อนยุค ล้าสมัย ชี้ทางว่าดี ค