สถานการณ์และแนวทางส่งเสริม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีใน วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ * มานิตา สองสี * * ปาริชาติ เกตุแก้ว ** บทคัดย่อ งานวิจัยเรื่อง “ วิเคราะห์สถานการณ์และแนวทางส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ” มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสถานการณ์การใช้คอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียนของนักศึกษา วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค เพื่อนำไปสู่การหาแนวทางส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษา เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณโดยสุ่มกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ร่วมกับศึกษาเชิงคุณภาพ โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเพื่อเข้าร่วมสนทนากลุ่ม จำนวน 10 กลุ่ม หาความเที่ยงตรงของเครื่องมือ โดยใช้ดัชนีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัย พบว่า ลักษณะการใช้งานคอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียนส่วนใหญ่ คือ ใช้พิมพ์เอกสารและรายงานส่วนตัว ส่วนลักษณะการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่มีมากที่สุด คือ การสืบค้นข้อมูล นอกจากนี้ยังพบปัญหาในการใช้ โดยจำแนกได้เป็น 4 ด...
โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้
วลีภรณ์ จงแก้ววัฒนา : การศึกษาการบริหารงานบุคคลด้านบุคลากรครูของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร. (A STUDY OF PERSONNEL ADMINISTRATION OF TEACHERS IN SCHOOLS UNDER BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION) อ . ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : อ. ดร.ปิยพงษ์ สุเมตติกุล , 230 หน้า . การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคคลด้านบุคลากรครูของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 211 คน และครู จำนวน 390 คน จากประชากร จำนวน 436 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) การกำหนดกรอบอัตรากำลังและการวางแผนกำลังคน โรงเรียนส่วนใหญ่มีการจัดทำแผนกำลังคนเป็นแผนปฏิบัติการ 1-2 ปี ตามที่กรุงเทพมหานครได้วางไว้ 2) การได้มาและการนำเข้าสู่หน่วยงาน มีการปฐมนิเทศในเรื่องภาระงานที่ครูต้องปฏิบัติ โดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน 3) การประเมินผลการปฏิบัติงาน มีกา...
บทความดีๆ
ผู้เขียน กนกศักดิ์ พ่วงลาภ เมื่อไม่นานมานี้ผู้เขียนได้มีโอกาสไปประชุมในสถานศึกษาแห่งหนึ่ง ซึ่งจัดการศึกษาระดับปฐมวัยไปจนถึงมัธยมปลาย โรงเรียนนี้พอมีชื่อเสียงอยู่ในย่านดอนเมือง มีนักเรียนที่จบไปเป็นที่รู้จักของประชาชน อย่างน้อยคนหนึ่งเป็นดาราโด่งดังมาก เป็นดาวค้างฟ้าอยู่เวลานี้ ในวันนั้น ผู้เขียนไปประชุมในฐานะประชาชนธรรมดาไม่ได้ถูกเชิญในกิจการเฉพาะเจาะจงใดๆ ในวันนั้นมีการถามว่า อาหารมื้อกลางวันของนักเรียนที่เป็นเด็กเล็ก ปฐมวัย มีผลไม้จัดมาให้รับประทานด้วยหรือไม่ คุณครูท่านหนึ่งตอบว่า ไม่มี ผู้เขียนสะดุ้งโหยงสุดตัว กับคำตอบ “ไม่มีผลไม้” ไม่รู้คนอื่นสะดุ้งด้วยหรือไม่ ก็ไม่รู้ แต่เห็นคนอื่นในที่ประชุมหันขวับมามองผู้เขียน ราวกับว่าจะเอาอะไรกันหนักหนากับผลไม้ แต่ผู้เขียนกลับคิดว่าผลไม้นี่แหละจำเป็นสำหรับเด็กมากๆ เลยทีเดียว เพราะอยู่ที่บ้านเด็กก็ไม่ค่อยกินผักผลไม้ หากอยู่ที่โรงเรียนแล้ว ถ้าทางโรงเรียนมีผลไม้มาให้ เด็กนักเรียนคงต้องเกรงใจครูบ้างและทำให้เด็กกินผลไม้นั้นย่อมเป็นประโยชน์แก่ร่างกายเด็กเอง ผลไม้ย่อมมีวิตามินและเอนไซม์ (เอนไซม์ที่มีชีวิต ซึ่งคนญี่ปุ่นรู้เรื่องอาหารเหล่านี้เป็นอย่างด...
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น