Abstract
Title : Readiness in Using English for Communication to Participate in the
ASEAN Community of 2nd Year Accounting Major Students in Faculty
of Business Administration, Rajamangala University of Technology
Srivijaya, Songkhla
Authors : Khwanchanok Kanjanachumaburop
Anok Cholsin
Orawan Yongdum
Degree : Bachelor of Arts
Program : English for International Communication Department
: Foreign Languages
Advisor : Mr. Nattana Boontong
Academic Years : 2013
This research aimed to evaluate the readiness in using English for
communication of accounting students to participate in the ASEAN community and to
compiled an English for accountancy handbook for the students to evaluate.
The population was 83 second-year accounting students, 7 foreign language
teachers and 3 accounting teachers. The instrument of this research was a
questionnaire on the readiness to participate in the ASEAN community which was
divided into the four skills listening, speaking, reading and writing. Data were
analyzed for descriptive statistics by using mean (x ) and standard deviation (S.D.).
The result of this research indicated that the students had a moderate level in
all four skills, listening skills is the best and speaking skill is the least. From the
results, the researchers made an English accounting handbook. The handbook was
evaluated for suitability by 8 English teachers and 3 accounting teachers. The
evaluation form was divided into 4 parts. From the result, the researchers found that
the evaluators were highly satisfied in 4 areas; external description, content,
presentation format and illustrations and language and letters at the much level.
สถานการณ์และแนวทางส่งเสริม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีใน วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ * มานิตา สองสี * * ปาริชาติ เกตุแก้ว ** บทคัดย่อ งานวิจัยเรื่อง “ วิเคราะห์สถานการณ์และแนวทางส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ” มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสถานการณ์การใช้คอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียนของนักศึกษา วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค เพื่อนำไปสู่การหาแนวทางส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษา เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณโดยสุ่มกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ร่วมกับศึกษาเชิงคุณภาพ โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเพื่อเข้าร่วมสนทนากลุ่ม จำนวน 10 กลุ่ม หาความเที่ยงตรงของเครื่องมือ โดยใช้ดัชนีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัย พบว่า ลักษณะการใช้งานคอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียนส่วนใหญ่ คือ ใช้พิมพ์เอกสารและรายงานส่วนตัว ส่วนลักษณะการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่มีมากที่สุด คือ การสืบค้นข้อมูล นอกจากนี้ยังพบปัญหาในการใช้ โดยจำแนกได้เป็น 4 ด...
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น