บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2019
เป็นโปรแกรมกรอกข้อมูลยาเสพติดในสถานศึกษา และกำลังพลที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานยาเสพติดในสถานศึกษา เพื่อทราบถึงกิจกรรมที่ ร.ร.ดำเนินการในด้านยาเสพติด การเรียกใช้ ระบบทะเบียนกำลังพล สามารถเรียกใช้ ได้ 3 ช่องทาง คือ 1.       Address   http://hr.nccd.go.th   หรือ 2.       Address   http://www.nccd.go.th เลือกเมนูหลัก ระบบกำลังพลปีงบประมาณ 2551 3.       Link จากระบบ สารสนเทศยาเสพติดจังหวัด Narcotics Information System for Province Agency (NISPA) แล้วเลือกเมนูตามรูป   กำลังพลประเภทที่ 1 กำลังพลที่ปฏิบัติงานด้านยาเสพติดตามโครงสร้างแบ่งส่วนราชการ  ที่มีกฎหมายรองรับ  หมายถึง กำลังพลที่อยู่ในโครงสร้าง ตามกฎหมายการแบ่งส่วนราชการให้มีหน้าที่ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในปัจจุบันมีหน่วยงานที่มีการจัดส่วนราชการตามกฎหมาย อาทิเช่น           1.1 กระทรวงยุติธรรม                       1) สำนักงาน ป.ป.ส.                    2) กรมคุมประพฤติ (         )                    3) กรมราชทัณฑ์    (         )           1.2 กระทรวงสาธารณสุข                    1) กรมการแพท
รูปภาพ

บทความดีๆ

ผู้เขียน กนกศักดิ์ พ่วงลาภ เมื่อไม่นานมานี้ผู้เขียนได้มีโอกาสไปประชุมในสถานศึกษาแห่งหนึ่ง ซึ่งจัดการศึกษาระดับปฐมวัยไปจนถึงมัธยมปลาย โรงเรียนนี้พอมีชื่อเสียงอยู่ในย่านดอนเมือง มีนักเรียนที่จบไปเป็นที่รู้จักของประชาชน อย่างน้อยคนหนึ่งเป็นดาราโด่งดังมาก เป็นดาวค้างฟ้าอยู่เวลานี้ ในวันนั้น ผู้เขียนไปประชุมในฐานะประชาชนธรรมดาไม่ได้ถูกเชิญในกิจการเฉพาะเจาะจงใดๆ ในวันนั้นมีการถามว่า อาหารมื้อกลางวันของนักเรียนที่เป็นเด็กเล็ก ปฐมวัย มีผลไม้จัดมาให้รับประทานด้วยหรือไม่ คุณครูท่านหนึ่งตอบว่า ไม่มี ผู้เขียนสะดุ้งโหยงสุดตัว กับคำตอบ “ไม่มีผลไม้” ไม่รู้คนอื่นสะดุ้งด้วยหรือไม่ ก็ไม่รู้ แต่เห็นคนอื่นในที่ประชุมหันขวับมามองผู้เขียน ราวกับว่าจะเอาอะไรกันหนักหนากับผลไม้ แต่ผู้เขียนกลับคิดว่าผลไม้นี่แหละจำเป็นสำหรับเด็กมากๆ เลยทีเดียว เพราะอยู่ที่บ้านเด็กก็ไม่ค่อยกินผักผลไม้ หากอยู่ที่โรงเรียนแล้ว ถ้าทางโรงเรียนมีผลไม้มาให้ เด็กนักเรียนคงต้องเกรงใจครูบ้างและทำให้เด็กกินผลไม้นั้นย่อมเป็นประโยชน์แก่ร่างกายเด็กเอง ผลไม้ย่อมมีวิตามินและเอนไซม์ (เอนไซม์ที่มีชีวิต ซึ่งคนญี่ปุ่นรู้เรื่องอาหารเหล่านี้เป็นอย่างด

บทความ ดีๆ

การศึกษาไทย…ไปถึงไหนแล้ว?? ที่มา คอลัมน์ มติชนมติครู ผู้เขียน สหัส แก้วยัง ย่างเข้าปีที่ 5 แล้วที่รัฐบาล คสช.ภายใต้การบริหารงานของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในปัจจุบันที่ทุกคนถามถึงผลงานในรอบ 4 ปีที่ผ่านมา ทุกคนต่างมีคำตอบอยู่ในใจแล้วว่าสอบผ่าน หรือสอบตก ผลงานที่ไม่กล่าวถึงไม่ได้ คือผลงานด้านการศึกษาที่รัฐบาลนี้มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมา 3 คน แล้วเป็นทหาร 2 คน ปัจจุบันคนที่ 3 เป็นนายแพทย์ มีการปฏิรูปการศึกษา ทุกคนที่เข้ามาบริหารกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาจึงเกิดทุกยุคทุกสมัย และทุกคนที่เข้ามาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการก็จะเน้นการปฏิรูปการศึกษา แต่ความเป็นจริง การปฏิรูปการศึกษาไม่ประสบผลสำเร็จเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน คุณภาพการศึกษาโดยรวมยังไม่ดีขึ้น พูดง่ายๆ ก็คือคุณภาพการศึกษายังไม่บรรลุเป้าหมาย จึงทำให้วนไปวนมากับคำว่าปฏิรูปจนเราเคยชินเป็น คำธรรมดาๆ ขาดมนต์ขลังไปเสียแล้ว รัฐบาลชุดนี้ก็เข้ามาปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหาร มีการเพิ่มศึกษาธิการจังหวัด ศึกษาธิการภาค ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว เราเคยมองว่าศึกษาธิการจังหวัดทำงานซ้ำซ้อน เป็นหน่วยงานที่ไม่ส่งผลต่อคุณภ

บทความ ดีๆ

ด้วยความเชื่อที่ว่า ครูคือทรัพยากรที่สำคัญยิ่งในระบบการศึกษาที่จะเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น   ในปี 2561 นี้  งานมหกรรมทางการศึกษาครั้งที่11 EDUCA2018 งานที่มีครูระดับปฏิบัติการและระดับบริหารเข้าร่วมมากที่สุดในประเทศไทยได้ให้การสนับสนุนที่จะสร้างความเข้าใจต่อทั้งสาธารณชนและบรรดาครูไทยให้ตระหนักถึงคุณค่าของวิชาชีพนี้ เพราะครูที่เคารพต่อวิชาชีพครูจะกระตือรือร้นต่อการทำงาน ทั้งยังผลักดันตัวเองให้พัฒนาทักษะในการทำงานอยู่เสมอๆ ภายใต้แนวคิดThe Value of Teachers : คุณค่าของครู เพื่อกระตุ้นสังคมให้ตระหนักถึง “คุณค่าของครู”ท่ามกลางกระแสโลกดิจิทัลที่ท้าทาย และบทบาทอันยิ่งใหญ่ของครูที่จะเตรียมเด็กไทย ให้พร้อมสำหรับอนาคตที่ยั่งยืน เตรียมเปิดมุมมองการเรียนรู้ และอัปเดตความเคลื่อนไหวในวงการศึกษาระดับนานาชาติ โดย วิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา นักวิจัยทางการศึกษา และนักการศึกษาระดับนานาชาติจากประเทศชั้นนำทางการศึกษาไม่ว่าจะเป็น ฟินแลนด์ เนเธอร์แลนด์นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และสิงคโปร์ ที่จะมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ใหม่ๆ ในการประชุมนานาชาติ(Internation

บทความ ดีๆ

เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2561 โพสต์ทูเดย์ ได้เสนอเนื้อหาเรื่อง "จดหมายถึงครู" ที่เขียนโดยศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ประธานสถาบันนวัตกรรมชุมชนอัจฉริยะและอธิการบดี สจล. โดยมีเนื้อหา ดังนี้ จดหมายถึงครู อาชีพครูกำลังถูกท้าทายในยุคDisruption ครูจึงต้องเปลี่ยน เพราะหากไม่เปลี่ยน ไม่ใช่แค่แพ้แต่ถึงกับสูญพันธุ์ ******************************** โดย...ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ประธานสถาบันนวัตกรรมชุมชนอัจฉริยะและอธิการบดี สจล. วันนี้เมื่อกระแสกดดันการศึกษาไทยรุนแรงมากขึ้นจากโซเชียลมีเดีย และจากที่คนไทยเริ่มรับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงแบบหักศอกในโลกยุค Disruption หรือยุคทำลายล้างเพื่อเกิดสิ่งใหม่ที่ดีกว่า จึงกังวลว่าลูกหลานไทยจะสู้ใครไม่ได้ เพราะการศึกษาไทยติดหล่ม ถึงแม้รัฐจะทุ่มเทเต็มกำลังก็ตามที อนาคตไทยก็ยังน่าเป็นห่วง เมื่อการศึกษาไทยมีปัญหา “ครู” มักกลายเป็นจำเลยของสังคม หรือ “ผิดเป็นครู” บ้างก็ว่าครูรุ่นใหม่ขาดจิตวิญญาณ ครูรุ่นเก่าไม่ปรับตัว แต่ปัญหาครูก็เป็นเพียงปัจจัยเดียวเท่านั้น ในหลายปัจจัยของวงการศึกษาไทย การที่ครูมักต้องเป็นแพะรับบาปร่ำไป ผมจึงรู้สึกได้ถ

บทความ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายแพทย์ธีรเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ เรื่องที่ท่านทำดี มีประโยชน์ต่อการศึกษาของประเทศไทย  - มอบของขวัญให้ครู โดยยกเลิกทำ logbook ท่านกล้าที่จะยกเลิกเมื่อเห็นว่าทำไปแล้วเป็นภาระที่ครูทำ เสียเวลาในการ เตรียมการสอน - กล้าตัดสินใจยกเลิก MOE NET มอบของขวัญให้นักเรียน ให้โรงเรียนเลือกใช้อินเทอร์เน็ต สพฐ.จัดสรรงบสนับสนุน - ไม่มีการประเมินภายนอกโดย สมศ. - แก้ไขกฎกระทรวงว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ให้สั้น กระชับ อ่านง่าย ไม่ซับซ้อน (เนื้อหา 2 หน้า) - เป็นต้นแบบความตรงต่อเวลา ตรงไปตรงมา เวลาท่านบรรยายเริ่มตรงเวลาและจบตรงเวลา - สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว - ลดภาระงานครู โดยกำหนดให้ทุกรร.มีเจ้าหน้าที่ธุรการ - นโยบายไม่ตัดเสื้อโหล การดำเนินการสอดคล้องบริบทแต่ละพื้นที่ - ชูโครงการ Boot Camp ยกระดับภาษาอังกฤษ - ปราบโกงทุจริต กองทุนเสมาพัฒนาชีวิต การจัดซื้อครุภัณฑ์บางพื้นที่ - เริ่มต้นโครงการโรงเรียน ICU และยกเลิกโครงการ ทำดีหลายเรื่องครับ น่าชื่นชม แต่ช่วงท้ายๆ ใกล้เลือกตั้ง เป็นวิธีการที่เสียคะแนน (เสียมากด้วย) ขัดแย้ง ย้อนยุค ล้าสมัย ชี้ทางว่าดี ค
Abstract Title : Readiness in Using English for Communication to Participate in the ASEAN Community of 2nd Year Accounting Major Students in Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Srivijaya, Songkhla Authors : Khwanchanok Kanjanachumaburop Anok Cholsin Orawan Yongdum Degree : Bachelor of Arts Program : English for International Communication Department : Foreign Languages Advisor : Mr. Nattana Boontong Academic Years : 2013 This research aimed to evaluate the readiness in using English for communication of accounting students to participate in the ASEAN community and to compiled an English for accountancy handbook for the students to evaluate. The population was 83 second-year accounting students, 7 foreign language teachers and 3 accounting teachers. The instrument of this research was a questionnaire on the readiness to participate in the ASEAN community which was divided into the four skills listening, speaking, reading and writing. Data were ana
รูปภาพ
TITLE FACTORS AFFECTING VOICE THERAPY OUTCOME IN ADULTS WITH VOICE DISORDERS AUTHOR TIPWAREE AUEWORAKHUNANAN DEGREE MASTER OF SCIENCE PROGRAM IN COMMUNICATION DISORDERS FACULTY FACULTY OF MEDICINE RAMATHIBODI HOSPITAL ADVISOR KALYANEE MAKARABHIROM CO-ADVISOR DECHAVUDH NITYASUDDHI   ABSTRACT The purpose of this research was to examine factors affecting voice therapy outcome and to investigate the direct and indirect factors affecting quality of life in adults with voice disorders at the speech clinic in Ramathibodi Hospital. The subjects consisted of 36 patients with voice disorders. All subjects received 10 sessions of voice therapy, each session 30 minutes per week. The voice therapy program consisted of vocal hygiene education, breathing exercise, muscle relaxation and others. Voice therapy outcome was measured by using the Grade, Instability, Roughness, Breathiness, Asthenicity, and Strain (GIRBAS) criteria and Dr. Speech program and quality of life was measured by using t
วลีภรณ์   จงแก้ววัฒนา : การศึกษาการบริหารงานบุคคลด้านบุคลากรครูของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร. (A STUDY OF PERSONNEL ADMINISTRATION OF TEACHERS IN SCHOOLS UNDER BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION)   อ . ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : อ. ดร.ปิยพงษ์   สุเมตติกุล , 230 หน้า . การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคคลด้านบุคลากรครูของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร   กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 211   คน และครู จำนวน 390 คน จากประชากร จำนวน 436 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) การกำหนดกรอบอัตรากำลังและการวางแผนกำลังคน โรงเรียนส่วนใหญ่มีการจัดทำแผนกำลังคนเป็นแผนปฏิบัติการ 1-2 ปี   ตามที่กรุงเทพมหานครได้วางไว้ 2) การได้มาและการนำเข้าสู่หน่วยงาน มีการปฐมนิเทศในเรื่องภาระงานที่ครูต้องปฏิบัติ   โดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน     3) การประเมินผลการปฏิบัติงาน มีการประเมินผลการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม   โดยคณะกร
รูปภาพ
ชื่อเรื่อง                  รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์            เรื่อง   กลไกร่างกายมนุษย์   สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2   ผู้ศึกษา                    นางพชรรัชต์    อุดมผล หน่วยงาน              โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา      ปีการศึกษา             255 5 บทคัดย่อ                  รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์      เรื่อง   กลไก ร่างกายมนุษย์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2   ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์    1)   เพื่อหาประสิทธิภาพ ของ เอกสารประกอบการเรียน   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์     เรื่อง กลไกร่างกายมนุษย์ สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่    2   ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน   80/80    2)   เพื่อเปรียบเทียบ ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2   ก่อนและหลังเรียน   ด้วยเอกสารประกอบ การเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์   เรื่อง กลไกร่างกายมนุษย์   3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2   ที่ มีต่อเอกสารประกอบก
ชื่อเรื่อง                 พัฒนาระบบฐานข้อมูลการประเมินตนเองของหน่วยงาน ผู้วิจัย                      บุรินทร์   รุจจนพันธุ์             คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                    หัวหน้าโครงการ วันชาติ   นภาศรี                    ฝ่ายวางแผนและพัฒนา                                      ผู้ร่วมวิจัย ศศิวิมล   แรงสิงห์                 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                    ผู้ร่วมวิจัย อาภาพร ยกโต                      คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์               ผู้ร่วมวิจัย คนึงสุข   นันทชมภู              คณะนิติศาสตร์                                                     ผู้ร่วมวิจัย อังคณา   เนตรรัศมี               คณะบริหารธุรกิจ                                                 ผู้ร่วมวิจัย เพชรี   สุวรรณเลิศ                คณะนิเทศศาสตร์                                                 ผู้ร่วมวิจัย ชื่อสถาบัน             มหาวิทยาลัยโยนก โครงการเสร็จสิ้น                 กันยายน พ . ศ .2551 บทคัดย่อ                                  งานวิจัยครั้งนี้เป็
สถานการณ์และแนวทางส่งเสริม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีใน วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ * มานิตา   สองสี * * ปาริชาติ เกตุแก้ว ** บทคัดย่อ งานวิจัยเรื่อง “ วิเคราะห์สถานการณ์และแนวทางส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ” มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสถานการณ์การใช้คอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียนของนักศึกษา วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค เพื่อนำไปสู่การหาแนวทางส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้นอกเวลาเรียนของนักศึกษา เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณโดยสุ่มกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ร่วมกับศึกษาเชิงคุณภาพ โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเพื่อเข้าร่วมสนทนากลุ่ม   จำนวน   10 กลุ่ม   หาความเที่ยงตรงของเครื่องมือ โดยใช้ดัชนีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัย พบว่า   ลักษณะการใช้งานคอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียนส่วนใหญ่ คือ ใช้พิมพ์เอกสารและรายงานส่วนตัว ส่วนลักษณะการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่มีมากที่สุด   คือ การสืบค้นข้อมูล นอกจากนี้ยังพบปัญหาในการใช้ โดยจำแนกได้เป็น 4 ด้านคือ 1) ปัญหาด้านการเข้าถึง